Search
Close this search box.

บทความ

การบริหารความเสี่ยงทางการเงินในวิถีชีวิต “ความปกติใหม่” (New Normal)

ในสถานการณ์ที่ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยกำลังเผชิญภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ สงครามการค้า ภัยธรรมชาติ มลพิษทางอากาศ และล่าสุดกับการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19

เรื่องราวดีๆ ที่ต้องอ่าน

บทบาทของการประกันชีวิตในการวางแผนทางการเงิน
การประกันภัยเป็นการสงวนรักษา และเสริมสร้างความมั่นคงของลูกค้า และในฐานะที่เป็นเครื่องมือการวางแผนการเงินที่สำคัญ และทรงพลังในหลายส่วน นักวางแผนการเงินต้องเข้าใจ

การเปิดสู่ความเสี่ยง

การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจของประเทศเป็นผลมาจากการมีอยู่และการใช้ทุนที่มีตัวตน และทุนด้านทรัพยากรมนุษย์ที่ธุรกิจจำนวนมากในระบบเป็นเจ้าของจากการสะสมมา เมื่อเศรษฐกิจขยายตัว โอกาสของงานใหม่ๆ จะถูกสร้างขึ้น หากเศรษฐกิจไม่เติบโตจะเป็นผลให้มีตำแหน่งงานไม่เพียงพอ อันจะส่งผลให้เกิดการว่างงาน

การบริหารความเสี่ยง

การเข้าไปเกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบ เพื่อปกป้องผู้คน และทรัพย์สินจากความเสี่ยงแท้จริง คำว่า “บริหาร” ใน “การบริการความเสี่ยง”

เนื้อหาของแผนการเงินสมบูรณ์แบบ

แผนการเงิน คือกลยุทธ์เพื่อบรรลุเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ทางการเงินของลูกค้า แผนการเงินสมบูรณ์แบบ ควรแสดงถึงเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ทางการเงินของลูกค้าทุกด้าน ต่างจากแผนการเงินธรรมดา ที่เจาะจงเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และแม้ว่าลูกค้าอาจไม่ต้องการแผนการเงินสมบูรณ์แบบไปเสียทุกคน แต่นักวางแผนการเงินทุกคนควรต้องรู้วิธีทำแผนสมบูรณ์แบบ

นิยามของการวางแผนการเงิน

แม้ว่ายังไม่มีคำนิยามที่เป็นมาตรฐานสำหรับการวางแผนการเงิน แต่เราอาจให้คำนิยามได้ดังนี้ “การจัดทำแผนการเริ่มปฏิบัติ และติดตามตรวจสอบแผนการเงินสมบูรณ์แบบ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ทางการเงินส่วนบุคคล” นิยามนี้เน้นย้ำความจริงที่ว่าจุดเริ่มต้นในการร่างแผนการเงินขึ้นอยู่กับเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของลูกค้า ไม่ใช่แผนสำเร็จรูปที่เตรียมเสนอสินค้า และบริการที่คิดไว้ล่วงหน้า การวางแผนการเงินยังเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องโดยเหตุที่เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของลูกค้า รวมทั้งสภาพเศรษฐกิจอาจเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา

การวางแผนการเงิน

ในสังคมที่ซับซ้อนยิ่งขึ้นทุกวัน ผู้บริโภคต้องแบกภาระรับผิดชอบต่อครอบครัว ต่องานอาชีพ และต่อชุมชน รวมถึงการเพิ่มคุณค่าชีวิตของตนด้วย ตลาดบริการทางการเงินก็กำลังเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ด้วยกฎหมาย และข้อบังคับใหม่ๆ สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ การตลาด การนำเสนอสินค้าหลากหลาย และการโฆษณาที่ขัดแย้งกันผ่านสื่อต่างๆ การตัดสินใจเรื่องการเงินอย่างถูกทาง ถูกเวลา จึงมีความสำคัญยิ่งต่อการบรรลุเป้าหมาย และความมั่นคงทางการเงินส่วนบุคคล

การบริหารความเสี่ยงทางการเงินในวิถีชีวิต “ความปกติใหม่” (New Normal)

ในสถานการณ์ที่ทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยกำลังเผชิญภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ สงครามการค้า ภัยธรรมชาติ มลพิษทางอากาศ และล่าสุดกับการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19

เรื่องราวดีๆ ที่ต้องอ่าน

บทบาทของการประกันชีวิตในการวางแผนทางการเงิน
การประกันภัยเป็นการสงวนรักษา และเสริมสร้างความมั่นคงของลูกค้า และในฐานะที่เป็นเครื่องมือการวางแผนการเงินที่สำคัญ และทรงพลังในหลายส่วน นักวางแผนการเงินต้องเข้าใจ

การเปิดสู่ความเสี่ยง

การเจริญเติบโตของเศรษฐกิจของประเทศเป็นผลมาจากการมีอยู่และการใช้ทุนที่มีตัวตน และทุนด้านทรัพยากรมนุษย์ที่ธุรกิจจำนวนมากในระบบเป็นเจ้าของจากการสะสมมา เมื่อเศรษฐกิจขยายตัว โอกาสของงานใหม่ๆ จะถูกสร้างขึ้น หากเศรษฐกิจไม่เติบโตจะเป็นผลให้มีตำแหน่งงานไม่เพียงพอ อันจะส่งผลให้เกิดการว่างงาน

การบริหารความเสี่ยง

การเข้าไปเกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบ เพื่อปกป้องผู้คน และทรัพย์สินจากความเสี่ยงแท้จริง คำว่า “บริหาร” ใน “การบริการความเสี่ยง”

เนื้อหาของแผนการเงินสมบูรณ์แบบ

แผนการเงิน คือกลยุทธ์เพื่อบรรลุเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ทางการเงินของลูกค้า แผนการเงินสมบูรณ์แบบ ควรแสดงถึงเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ทางการเงินของลูกค้าทุกด้าน ต่างจากแผนการเงินธรรมดา ที่เจาะจงเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และแม้ว่าลูกค้าอาจไม่ต้องการแผนการเงินสมบูรณ์แบบไปเสียทุกคน แต่นักวางแผนการเงินทุกคนควรต้องรู้วิธีทำแผนสมบูรณ์แบบ

นิยามของการวางแผนการเงิน

แม้ว่ายังไม่มีคำนิยามที่เป็นมาตรฐานสำหรับการวางแผนการเงิน แต่เราอาจให้คำนิยามได้ดังนี้ “การจัดทำแผนการเริ่มปฏิบัติ และติดตามตรวจสอบแผนการเงินสมบูรณ์แบบ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ทางการเงินส่วนบุคคล” นิยามนี้เน้นย้ำความจริงที่ว่าจุดเริ่มต้นในการร่างแผนการเงินขึ้นอยู่กับเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของลูกค้า ไม่ใช่แผนสำเร็จรูปที่เตรียมเสนอสินค้า และบริการที่คิดไว้ล่วงหน้า การวางแผนการเงินยังเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องโดยเหตุที่เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของลูกค้า รวมทั้งสภาพเศรษฐกิจอาจเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา

การวางแผนการเงิน

ในสังคมที่ซับซ้อนยิ่งขึ้นทุกวัน ผู้บริโภคต้องแบกภาระรับผิดชอบต่อครอบครัว ต่องานอาชีพ และต่อชุมชน รวมถึงการเพิ่มคุณค่าชีวิตของตนด้วย ตลาดบริการทางการเงินก็กำลังเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ด้วยกฎหมาย และข้อบังคับใหม่ๆ สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ การตลาด การนำเสนอสินค้าหลากหลาย และการโฆษณาที่ขัดแย้งกันผ่านสื่อต่างๆ การตัดสินใจเรื่องการเงินอย่างถูกทาง ถูกเวลา จึงมีความสำคัญยิ่งต่อการบรรลุเป้าหมาย และความมั่นคงทางการเงินส่วนบุคคล