Search
Close this search box.

อบรมและทดสอบความรู้ผู้ตรวจสอบและประเมินวินาศภัย

หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรสำหรับผู้ตรวจสอบและประเมินวินาศภัย โดยมีรายละเอียด ดังนี้

  1. อบรมความรู้ผู้ตรวจสอบและประเมินวินาศภัย
  2. ทดสอบความรู้ผู้ตรวจสอบและประเมินวินาศภัย

โครงสร้างรายวิชา

อบรมทั้งหมด 12 ชั่วโมง

  1. การประกอบอาชีพผู้ตรวจสอบและประเมินวินาศภัย
    • บทบาทหน้าที่ของผู้ตรวจสอบและประเมินวินาศภัย
    • ความรับผิดชอบของผู้ตรวจสอบและประเมินวินาศภัย
    • ความรู้และทักษะที่สําคัญของผู้ตรวจสอบและประเมินวินาศภัย
  2. หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้ตรวจสอบและประเมินวินาศภัย
    • หน่วยงานกํากับดูแล(สำนักงาน คปภ.)
    • หน่วยงานที่อาจเป็นผู้ว่าจ้างผู้ประเมินวินาศภัย
    • หน่วยงานและผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ ที่ผู้ตรวจสอบและประเมินวินาศภัยอาจต้องร่วมงานด้วย
    • จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพการประเมินวินาศภัย แนวทางปฏิบัติ และบทลงโทษ
    • มาตรฐานการปฏิบัติงาน
    • ความซื่อสัตย์ในวิชาชีพ
    • ความเป็นกลางในการปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบและประเมินวินาศภัย
    • ความรับผิดชอบต่อรายงานการประเมินวินาศภัย
    • พัฒนาและเผยแพร่ความรู้ทางวิชาชีพของตนตลอดเวลาที่ประกอบวิชาชีพ ผู้ตรวจสอบและประเมินวินาศภัย
    • มารยาทและความร่วมมือ
    • การโฆษณา
    • บทลงโทษ
  1. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้ประเมินวินาศภัย
    • กฎหมายว่าด้วยการประกันวินาศภัย
    • ประกาศสํานักงานคปภ.ต่าง ๆ ที่เกี่ยวของกับผู้ประเมินวินาศภัย
    • กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจประเมินวินาศภัย
  2. แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมาย การตีความ และ การประยุกต์ใช้กฎหมาย (กรณีศึกษา)
  1. กระบวนการประเมินวินาศภัย
    • วัตถุประสงค์ของการประเมินวินาศภัย
    • กระบวนการประเมินวินาศภัย
  2. การรับงานประเมินวินาศภัย
    • การรับข้อเสนอว่าจ้าง
    • การตกลงรับงานประเมินวินาศภัย
  3. การวางแผนการตรวจสอบเหตุวินาศภัย
    • ความสําคัญของการวางแผนการตรวจสอบเหตุวินาศภัย
  4. การดําเนินการตรวจสอบเหตุวินาศภัย
    • การตรวจสอบความเสียหาย
    • การเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ
    • การพิสูจน์ข้อมูลต่างๆ
    • การกําหนดสิทธิ์การกู้คืน
  5. การประเมินวินาศภัย การตรวจสอบการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
    • การทําความเข้าใจกรมธรรม์ประกันภัย
    • การตรวจสอบการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเปรียบเทียบกับกรมธรรม์ประกันภัย
    • การตั้งสมมุติฐาน
    • หลักการจัดการการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน และการเจรจา
    • มาตรฐานหน้าที่แห่งความระมัดระวัง (reasonable care)
    • หลักการบรรเทาความเสียหาย
    • การสืบหาสาเหตุความเสียหาย
    • หลักการประกันภัยต่ํากว่ามูลค่า
    • หลักการปฏิเสธการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
    • การฉ้อฉลประกันภัย การตรวจสอบและการป้องกัน
    • อาชญากรรมทางการเงิน
    • ความเสียหายและหลักการตั้งสํารองเงิน
  1. หลักการสําคัญของการประกันภัย
    • หลักส่วนได้เสีย
    • หลักสุจริตอย่างยิ่ง
    • หลักชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
    • หลักสาเหตุใกล้ชิด
    • ลักการร่วมชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
    • หลักการรับช่วงสิทธิ
  2. ความเสี่ยงและการประกันภัย
    • แนวคิดด้านความเสี่ยง
    • ความเสี่ยงและการประกันภัย
    • การจัดลําดับความเสี่ยง
    • การจัดการความเสี่ยง
    • ความเสี่ยงที่สามารถรับประกันภัยได้
  3. การวางแผนการตรวจสอบเหตุวินาศภัย
    • อัคคีภัย
    • ภัยเนื่องจากน้ํา
    • ภัยฟ้าผ่า
    • ภัยต่อเครื่องใช้ไฟฟ้า
    • ภัยระเบิด
    • ภัยจากลมพายุ
    • ภัยน้ําท่วม
    • ภัยจากการเฉี่ยวและหรือการชนของยานพาหนะหรือสัตว์พาหนะ
    • ภัยจากอากาศยานและหรือวัตถุท่ตีกจากอากาศยาน
    • กลุ่มภัยธรรมชาติ
  4. ภาพรวมผลิตภัณฑ์ประกันภัย
    • ความรู้พื้นฐาน หลักการสําคัญ เงื่อนไขกรมธรรม์และคํารับรองเกี่ยวกับกรมธรรม์ประกันภัย
      • ประกันภัยความเสี่ยงภัยทรัพย์สิน
      • ประกันอัคคีภัย
      • ประกันภัยการปฏิบัติงานตามสัญญา
      • ประกันภัยเครื่องจักรสําหรับผู้รับเหมา
      • ประกันภัยเครื่องจักรหยุดชะงัก
      • ประกันภัยหม้อกําเนิดไอน้ําและถังอัดความดัน
      • ประกันภัยสินค้าที่ขนส่งภายในประเทศ
      • ประกันภัยตัวเรือ (Marine Hull)
      • ประกันภัยขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
      • ประกันภัยอากาศยาน
    • หลักการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนของกรมธรรม์แต่ละประเภท
    • หลักการตรวจสอบของกรมธรรม์แต่ละประเภท
    • หลักการการบรรเทาความเสียหายของกรมธรรม์แต่ละประเภท

ค่าลงทะเบียน

8,500 บาท (รวม VAT 7% แล้ว)

เวลาอบรมและสอบ

*จะเปิดรับสมัครเร็วๆนี้*